อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ยอดกัลยาณมิตร)
ผู้ใดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะแล้ว เห็นอริยสัจ ๔ ด้วยปัญญาอันชอบ คือ ทุกข์ และตัณหาอันเป็นแดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันไปจากข้าศึก ให้ถึงพระนิพพานเป็นที่เข้าไประงับทุกข์ นี้แลเป็นสรณะอันเกษม นี้เป็นสรณะอันอุดม บุคคลอาศัยสิ่งนี้แล้ว ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
เวสารัชชธรรม ๔
พระพิชิตมารผู้ถึงที่สุดโลก ทรงทำโลกทั้งหลายให้ยินดีด้วยพระรัศมี พระองค์ยังดอกปทุม คือ เวไนยสัตว์ให้บานด้วยพระดำรัส ทรงสมบูรณ์ด้วยเวสารัชชธรรม ๔ เป็นอุดมบุรุษ ละความกลัวและความยินดีได้เด็ดขาด ทรงถึงธรรมอันเกษม องอาจกล้าหาญ พระผู้เลิศในโลก ทรงปฏิญาณซึ่งฐานะของผู้องอาจและพุทธภูมิทั้งสิ้น ไม่มีใครจะทักท้วงได้ในฐานะไหนๆ
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
เปรต ๑๒ ตระกูล (๔)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราเห็นคนบางคนในโลกนี้ ถูกสักการะครอบงำย่ำยีจิตแล้ว เมื่อตายไปเพราะกายแตกทำลาย ต้องเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก อนึ่ง เราเห็นคนบางคนในโลกนี้อันความเสื่อมสักการะครอบงำย่ำยีจิต เมื่อตายไปเพราะกายแตกทำลายต้องเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก
คุณสมบัติของกัลยาณมิตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ควรเสพ ควรคบเป็นมิตร ความเข้าไปนั่งใกล้ แม้ถูกขับไล่ ธรรม 7 ประการเป็นไฉนคือ....
ปัจเจกพุทธภูมิ
ผู้หยั่งลงในความเพียรในกาลก่อนย่อมมีอานิสงส์ ๕ ประการเหล่านี้ คือ ๑.ทำให้ได้บรรลุพระอรหัตตผลในปัจจุบัน ๒.ถ้ายังไม่ได้บรรลุพระอรหัตตผลในปัจจุบัน ย่อมให้บรรลุพระอรหัตตผลในเวลาใกล้จะตาย ๓.ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น จะเป็นเทวบุตรบรรลุพระอรหัตตผล ๔.ถ้าไม่อย่างนั้น จะเป็นขิปปาภิญญาตรัสรู้ได้เร็ว ในเมื่ออยู่ต่อพระพักตร์พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๕.ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น ในภพสุดท้ายจะเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 104
พระเจ้าวิเทหราชทรงสดับเช่นนั้น ก็รู้สึกปลาบแปลบในพระหทัย ที่ความลับของพระองค์มารั่วไหลไปได้ พระองค์จึงทรงใคร่ครวญว่า “บุคคลอื่นที่มโหสถกล่าวถึง คงมิใช่ใครอื่นนอกเสียจากพระนางอุทุมพร พระอัครมเหสีของพระองค์เอง ที่บังอาจลอบส่งข่าวไปถึงมโหสถ”
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (4)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
แม่บทแห่งธรรม ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร หรือที่เขียนตามพจนานุกรมว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นพระสูตรที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศพระสัมมาสัมโพธิญาณและเป็นพระสูตรที่เป็นแหล่งรวมของหลักธรรมสำคัญ ๆ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ พระสูตรนี้จึงได้สมญาว่า “ปฐมเทศนา”...